SWOT ใครๆ ก็รู้จักกัน เครื่องมือที่ใช้วิเคราะห์ธุรกิจและสินค้า สำหรับไปต่อย
.
รู้จักกันเยอะก็จริง แต่จะมีสักกี่คนที่รู้จักแล้วใช้งานมันได้อย่างถูกต้อง
.
วันนี้นินเลยเอาเรื่องนี้มาฝากให้พวกเราได้อ่านกัน กับ “8 ความสับสน ยอดฮิตที่มักชอบติด ตอนทำ SWOT”
.
#นินจาการตลาด ก็เคยเป็น ตอนฝึกฝนวิชาใหม่ๆ สมัยยังเด็ก
ความเข้าใจผิดนี้ ไม่ใช่เรื่องน่าอายเลย ค่อยๆ ฝึกกันไป ใช้กันให้ถูก… ฝึกบ่อยๆ เดี๋ยวเก่งเอง
ถ้าพร้อมแล้วก็เริ่มอ่านกันเลย…
ใครที่ไม่ถนัดอ่าน ก็ดูเป็นคลิปได้นะครับ นั่งฟังเพลินๆ เข้าหูไว้ก็ยังดี
อ.ออดี้ ได้ Live เอาไว้ เลยเอามาแชร์ไว้ให้ดู ให้ฟังด้วยเลย
1. แยกไม่ออกว่า จุดแข็ง (S) กับโอกาส (O) ต่างกันอย่างไร
เรื่องนี้ยอดฮิตเลย เจอกันบ่อยๆ ว่าชอบไปเขียน “จุดแข็ง” เป็น “โอกาส” ไปเขียน “โอกาส” เป็น “จุดแข็ง” ก็มันแยกไม่ออกจริงๆ นี่นา โอ้ย สับสนๆ
เคล็ดลับง่ายๆ สำหรับคนที่ติดปัญหานี้ก็คื
มองเรื่องของ จุดแข็ง ให้เป็นเรื่องภายในองค์กร หรือกับตัวสินค้านั้นๆ ที่เรากำลังวิเคราะห์อยู่ อย่ามองไปไกลกว่านั้น
เช่น
– ผลิตภัฑณ์มีส่วนผสมพิเศษจาก
– ต้นทุนสินค้าต่ำกว่ามาตฐานใ
และมองเรื่อง โอกาส ให้เป็นเรื่องภายนอกองค์กร หรือนอกเหนือตัวสินค้านั้นๆ
เช่น
– กรมอุตุระบุว่า ปีหน้า ฤดูฝนอาจสั้นลงเหลือเพียง 3.5 เดือนเท่านั้น (หากเป็นบริการท่องเที่ยว ก็คงขายทัวร์ได้มากขึ้น)
– นโยบายรัฐบาลของปธานาธิปดีส
ก็ถ้าแยก “จุดแข็ง” กับ “โอกาส” ไม่ออกแล้ว ก็ไม่พ้นว่า จะแยก จุดอ่อนกับ ภัยคุกคามไม่ออกเช่นกัน
เคล็ดลับง่ายๆ สำหรับคนที่ติดปัญหานี้ก็คื
มองเรื่องของ จุดอ่อน ให้เป็นเรื่องภายในองค์กร หรือกับตัวสินค้านั้นๆ ที่เรากำลังวิเคราะห์อยู่ อย่ามองไปไกลกว่านั้น (แบบเดียวกับที่มองจุดแข็งเ
เช่น
– ไม่มีศูนย์บริการในภูมิภาคอ
– ต้นทุนสินค้าสูงกว่ามาตฐานใ
และมองเรื่อง ภัยคุกคาม ให้เป็นเรื่องภายนอกองค์กร หรือนอกเหนือตัวสินค้านั้นๆ
เช่น
– ผู้ผลิตสินค้าจากจีนเริ่มเข
– รัฐบาลกำลังจะประกาศการเพิ่
แล้วเรียกว่าจุดแข็งได้ไหมอ่ะ
“ก็สิ่งนี้เราทำได้ดีนี่ เป็นจุดแข็งของเราเลย มันเจ๋งมากๆ ลูกค้าคนไหนที่ซื้อสินค้าเร
แต่เอ๊ะ… คู่แข่งรายนั้นก็ทำได้ดีแบบ
อย่างงี้ ไม่เรียกว่าจุดแข็งนะจ๊ะ…
.
สิ่งที่ใครๆ ก็ทำได้ ถึงแม้ว่าเราทำได้ดี แต่จะเหมาว่าเป็นจุดแข็งไม่
ดังนั้น ถ้าจะเขียนจุดแข็ง จำไว้เลยว่า ต้องเขียนจากสิ่งที่โดดเด่น
“โอโห้ เรื่องนี้เป็นโอกาสของเราแล
เสียงของทีมงานคุยกันระหว่า
ใช่ ไม่ผิดครับ ที่โอกาสนั้น อาจทำให้เราสามารถเติบโตได้
โอกาส เป็นของทุกคนเสมอ หากผู้นั้นมีความพร้อม หากเคยได้ยินสมการที่ว่า
ความสำเร็จ = โอกาส + ความพร้อม
จะรู้เลยว่า ใครกันที่จะประสบความเร็จ ก็คนที่มีความพร้อมกว่านั่น
ดังนั้น โอกาสที่เข้ามา ไม่ว่าจะเรื่องใดๆ ก็ตาม จำไว้ว่า ใครๆ ก็มองเห็นโอกาสนั้นเหมือนเร
สุดท้ายก็อยู่ตรงที่ว่า ธุรกิจไหน เตรียมความพร้อมไว้ดีมากกว่
5. อุปสรรค์ที่เจอ ก็โดนกันหมดทุกรายแหล่ะ
เรื่องนี้ก็อีกเช่นกัน เวลาเจอภัยคุกคาม หรืออุปสรรค์ จากภายนอก ที่นอกเหนือการควบคุม บางคนปลอบใจตัวเองว่าใครๆ ก็เจอแบบเรากันทั้งนั้น
เอาเข้าจริงๆ ก็ไม่ผิดนะครับ ที่ใครๆ ก็เจออุปสรรค์แบบเดียวกันกั
แต่ก็เช่นเดียวกับข้อที่ผ่า
ทำ SWOT เดียวครอบคลุมไปเลยได้ไหม
มิติของสินค้าที่หลากหลาย บางทีอาจต้องทำ SWOT แยกสินค้ากันจะดีกว่า ทำรวมๆ กันเป็นตัวเดียวนะครับ
บางครั้ง การทำ SWOT สำหรับองค์กร หรือสำหรับธุรกิจภาพรวม ก็อาจไม่เพียงพอต่อการวิเคร
ดังนั้น หากเป็นไปได้ แยกออกมาให้เป็นกลุ่มสินค้า
แต่ถ้าธุรกิจนั้นๆ เป็นธุรกิจในรูปแบบที่ขายสิ
7. โฟกัสเฉพาะ จุดแข็ง และ โอกาสเท่านั้น ที่จะเอาไปแข็งขันต่อ
การนำ จุดแข็งและโอกาส ไปใช้สำหรับการแข็งขันนั้นเ
แต่หลายคนมองข้าม จุดอ่อนและอุปสรรค์ เพราะคิดว่าเป็นเรื่องที่มั
แต่แท้ที่จริงแล้ว การแข่งขัน นอกจากการมองจุดดีและโอกาสแ
โดยเฉพาะจุดอ่อน ซึ่งมักเป็นเรื่องที่คู่แข่
อุปสรรค์ก็เช่นกัน ต้องนำมาวิเคราะห์เพื่อหาให
เฮ้ย เรื่องนี้ต้องเคลียร์เลย…ไม่ใช่ว่าทำ SWOT แล้ว จะทำให้ธุรกิจดีขึ้นมาได้เอ
อ้าว… ทำ SWOT แล้วปฏิบัติจริง… ทำยังไงล่ะ
การทำ SWOT มันเป็นแค่เครื่องมือตั้งต้
การลงทุนในการสร้างกลยุทธ์ก
นินเห็นมาบ่อยๆ เรามักจะลงทุน ลงแรงไปกับการขายกันเป็นใหญ
แต่เรามักจะลืมกันไปว่า หากมีกลยุทธ์ที่ดีแล้ว การขายก็จะง่ายและคล่องตัวม
ขนาด #ทัพรบยังต้องมียุทธวิธี #SMEต้องมีกลยุทธ์